วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

ฟังชั่นกำลังสอง

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปคณิตศาสตร์
      ฟังก์ชันกำลังสอง  คือ  ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป   y = ax2 + bx + c เมื่อ  a,b,c  เป็นจำนวนจริงใดๆ  และ  0 ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันนี้ขึ้นอยู่กับค่าของ a , b  และ   และเมื่อค่าของ   เป็นบวกหรือลบ  จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ  อ่านเพี่มเติม

ฟังชั่นเชิงเส้น

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปคณิตศาสตร์
ในคณิตศาสตร์ขั้นสูง ฟังก์ชันเชิงเส้น หมายถึง ฟังก์ชันที่เป็น ฟังก์ชันเชิงเส้น มักหมายถึง คณิตศาสตร์ ที่เป็น การสายเส้นตรง ระหว่างสองกลุ่มเวกเตอร์
ตัวอย่าง ถ้า  และ  คือ เวกเตอร์ตัวประสาน ฟังก์ชันเชิงเส้นจะเป็นบรรดาฟังก์ชัน ที่แสดงได้ในรูปร่าง
, โดยที่ M คือ เมตริก
ฟังก์ชัน  จะเป็น การสายเส้นตรง ก็ต่อเมื่อ  เท่านั้น  อ่านเพี่มเติม

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปคณิตศาสตร์
คู่อันดับ (Order Pairเป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ เช่น คู่อันดับ ab จะเขียนแทนด้วย (ab) เรียก a ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหลัง(การเท่ากับของคู่อันดับ) (ab) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = dผลคูณคาร์ทีเชียน (Cartesian Product) ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และเซต B คือ เซตของคู่อันดับ (ab) ทั้งหมด โดยที่ a เป็นสมาชิกของเซต A และ b เป็นสมาชิกของเซต B  อ่านเพี่มเติม

ค่าสมบูรณ์ของจำนวนจริง

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปคณิตศาสตร์
นิยามได้ดังนี้: สำหรับจำนวนจริงใดๆ aค่าสัมบูรณ์ของ a เขียนแทนด้วย |a| เท่ากับ a ถ้า a ≥ 0 และเท่ากับ −a ถ้า a < 0 (ดูเพิ่มเติม: อสมการ) |a| จะไม่เป็นจำนวนลบ ค่าสัมบูรณ์จะเป็นจำนวนบวกหรือศูนย์เสมอ นั่นคือจะไม่มีค่า a ที่ |a| < 0
ค่าสัมบูรณ์สามารถถือว่าเป็นระยะทางของจำนวนนั้นจากศูนย์ สัญกรณ์ของระยะทางในคณิตศาสตร์มักเขียนในรูปค่าสัมบูรณ์อยู่เสมอ เมื่อจำนวนจริงถูกพิจารณาเหมือนเป็นเวกเตอร์หนึ่งมิติ ค่าสัมบูรณ์คือขนาด และ p-นอร์มสำหรับ p ใดๆ ที่ตัวประกอบคงที่ ทุกๆนอร์มใน R1 จะเท่ากับค่าสัมบูรณ์: ||x||=||1||.|x|  อ่านเพี่มเติม

ค่าสมบูรณ์ของจำนวนจริง

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปคณิตศาสตร์
ค่าสมบูรณ์ของจำวนจริง a : เมื่อกำหนดให้ a เป็นจำนวนจริงระยะจากจุด 0 ถึงจุดที่แทนที่จำนวนจริง a เขียนแทนด้วย |a|
เช่น |2| หมายถึง ระยะจากจุด 0 ถึงจุดที่แทนจำนวน 2 ซึ่งเท่ากับ 2 หน่วย
|-2| หมายถึง ระยะจุด 0 ถึงจุดที่แทนจำนวน -2 ซึ่งเท่ากับ 2 หน่วย  อ่านเพี่มเติม

การไม่เท่ากัน

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปคณิตศาสตร์
ในการเปรียบเทียบจา นวนสองจา นวน นอกจากการเปรียบเทียบว่าเท่ากนั หรือไม่เท่ากนั แลว้ ยงัมี การเปรียบเทียบวา่ มากกวา่ หรือนอ้ยกวา่ ได้โดยเขียนใหอ้ยใู่ นรูปประโยคสัญลกัษณ์ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการ เปรียบเทียบการไม่เท่ากนัของจา นวนสองจา นวน  อ่านเพี่มเติม 

การเเก้สมการกำลังสองตัวเเปรเดี่ยว

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปคณิตศาสตร์
เรื่อง สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ใจความสำคัญของเรื่องนี้ อยู่ที่การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ซึ่งในการแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวนั้น ไม่ยากครับ   แต่ต้องฝึกทำบ่อยๆ ทำโจทย์เยอะๆครับ  ซึ่งการแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวเพื่อหาคำตอบของสมการนั้น มีหลายวิธีครับ อย่างเช่น การแทนค่าตัวเลขต่างๆลงในตัวแปรแล้วดูว่าสมการเป็นจริงไหม ถ้าเป็นจริงแสดงว่าตัวเลขที่เราแทนลงเป็นเป็นคำตอบสมการกำลังสองตัวแปรเดียว แต่วิธีนี้ไม่นิยมครับ มันยากครับวิธีนี้ คงไม่มีใครมานั่งแทนตัวเลขที่ล่ะตัวลงในตัวแปรหรอกน่ะครับ วิธีการที่นิยมใช้กันคือ  อ่านเพี่มเติม

การเเยกตัวประกอบของอนูภาค


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปคณิตศาสตร์
การแยกตัวอนุภาคประกอบ
1) การแยกเอาชิ้นส่วนที่เป็นอนุภาคประกอบ (compound particle) ของผสมแต่ละส่วนออกจากกัน โดยวิธีการทางเคมีและ/หรือฟิสิกส์ 2) การทำให้อนุภาคของคอลลอยด์แยกตัวจากกันและแขวนลอยอยู่ได้ [สิ่งแวดล้อม]  อ่านเพี่มเติ่ม

การเท่ากันไนระบบจำนวน


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปคณิตศาสตร์
การเท่ากันของจำนวนการเท่ากันในระบบจำนวนจริงมีสมบัติพื้นฐาน ดังนี้1. สมบัติการสะท้อนถ้า a เป็นจำนวนจริงใด ๆ แล้ว a = aเช่น 3 = 
2. สมบัติการสมมาตรเมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงใด ๆ ถ้า a = b แล้ว b = aเช่น ถ้า 3 + 4 = 7 แล้ว 7 = 3 + 43. สมบัติการถ่ายทอดเมื่อ a , b , c เป็นจำนวนจริงใด ๆ ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = cเช่น ถ้า 15 = 5 x 3 และ 5 x 3 = 10 + 5 แล้ว 15 = 10 + 54. สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากันเมื่อ a , b , c เป็นจำนวนจริงใด ๆ ถ้า a = b แล้ว a + c = b + cเช่น ถ้า 9 + 1 = 10 แล้ว ( 9 + 1 ) + 2 = 10 + 5. สมบัติการคูณด้วยจำนวนที่เท่ากันเมื่อ a , b , c เป็นจำนวนจริงใด ๆ ถ้า a = b แล้ว ac = bcเช่น ถ้า 18 = 9 x 2 แล้ว 18 x 3 = ( 9 x 2 ) x 

จำนวนจริง

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปคณิตศาสตร์
มีหลักเกณฑ์ในการแบ่งจำนวนจริงอยู่หลายเกณฑ์ เช่น จำนวนตรรกยะ หรือ จำนวนอตรรกยะจำนวนพีชคณิต (algebraic number) หรือ จำนวนอดิศัย; และ จำนวนบวก จำนวนลบ หรือ ศูนย์จำนวนจริงแทนปริมาณที่ต่อเนื่องกัน โดยทฤษฎีอาจแทนได้ด้วยทศนิยมไม่รู้จบและมักจะเขียนในรูปเช่น 324.823211247… จุดสามจุด ระบุว่ายังมีหลักต่อ ๆ ไปอีก ไม่ว่าจะยาวเพียงใดก็ตามการวัดในวิทยาศาสตร์กายภาพเกือบทั้งหมดจะเป็นการประมาณค่าสู่จำนวนจริง การเขียนในรูปทศนิยม (ซึ่งเป็นจำนวนตรรกยะที่สามารถเขียนเป็นอัตราส่วนที่มีตัวส่วนชัดเจน) ไม่เพียงแต่ทำให้กระชับ แต่ยังทำให้สามารถเข้าใจถึงจำนวนจริงที่แทนได้ในระดับหนึ่งอีกด้วย  อ่านเพี่มเติม

การใช้เหตุผลเเบบนิรนัย

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปคณิตศาสตร์
การให้เหตุผลแบบนิรนัย (อังกฤษDeductive reasoning) หรือ การให้เหตุผลจากบนลงล่าง (อังกฤษtop-down logic) เป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นกฎ ข้อตกลง ความเชื่อ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนด
การให้เหตุผลแบบนิรนัย ตรงกันข้ามกับ การให้เหตุผลแบบอุปนัย  อ่านเพี่มเติม

ฟังชั่นกำลังสอง

      ฟังก์ชันกำลังสอง    คือ    ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป    y = ax 2  + bx + c   เมื่อ     a,b,c     เป็นจำนวนจริงใดๆ    และ   a  ≠   0   ลัก...